จากเว็บไซต์ http://irrigation.rid.go.th/rid15/ppn/General/Pakinaka/08.htm
เจ้าหน้าที่ 2 คนจาก The Johnson City Medical Center ได้ค้นพบวิธีและได้ทำการศึกษาจากห้อง ICU และได้ทำการเขียนบทความขึ้น บทความนี้ได้ถูกตีพิมพ์และได้รับการบรรจุเข้าในวิชา ACLS และ Cardiopulmonary Resuscitation (วิชาการผายปอด) วิธีการนี้ได้ถูกเรียกว่า “cough CPR” (ผายปอดด้วยการไอ)
วิธีการนี้สามารถช่วยเหลืออาการหัวใจล้มเหลวได้จริง และหากทุกคนที่ได้รับ e-mail นี้ส่งต่อให้คนอื่นๆอีก 10 คน พนันได้เลยว่าพวกเราอาจช่วยชีวิตคนได้อีกอย่างน้อยก็คงจะ 1 ชีวิตด้วยวิธีการนี้ ลองอ่านตรงนี้ดู....มันอาจช่วยชีวิตคุณไว้ได้!
สมมุติว่ามันเป็นเวลาหกโมงเย็นและคุณกำลังขับรกลับบ้านคนเดียว หลังจากเลิกงานแล้ว คุณรู้สึกเหนื่อยล้า หดหู่ และเครียด ทันใดนั้นเอง คุณก็รู้สึกเจ็บขึ้นที่หน้าอก อาการเจ็บเริ่มแผ่กระจายไปตามแขนและลามขึ้นมาถึงขากรรไกร โรงพยาบาลที่ใกล้บ้านคุณที่สุดก็อยู่ห่างออกไปเพียงแค่ 5 กม. แต่คุณก็ไม่รู้ว่าคุณจะไปถึงหรือเปล่า??? คุณจะทำอย่างไร? ถึงคุณอาจเคยเรียนวิธีผายปอดมาแล้ว แต่สิ่งที่คุณเรียนมานั้นไม่ได้สอนว่าจะช่วยผายปอดตัวเองอย่างไร?
หลายคนอาจเกิดหัวใจล้มเหลวกะทันหันขณะที่อยู่คนเดียว หากไม่ได้รับการช่วยเหลืออาจเกิดอาการหน้ามืดและจะหมดสติภายในเวลา 10 วินาทีเท่านั้น อย่างไรก็ดี ผู้ป่วยยังคงสามารถช่วยเหลือตัวเองได้โดยการไอแรงๆ ซ้ำๆ อย่างต่อเนื่อง! ก่อนการไอแรงๆ ทุกครั้งควรสูดลมหายใจให้ลึกๆ การไอแต่ละครั้งควรไอให้ยาวๆ เหมือนกับตอนที่พยายามขากเสลดจากปอด การหายใจลึกๆ และไอแรงๆ ต้องกระทำต่อเนื่องทุกๆ 2 วินาที (ย้ำ ทุกๆ 2 วินาที) อย่างไม่หยุดจนกว่าจะได้รับการช่วยเหลือหรือจนกระทั่งรู้สึกว่าหัวใจ เต้นเป็นปรกติแล้ว การหายใจลึกๆ จะทำให้ปอดได้รับออกซิเจน ส่วนการไอแรงๆ นั้นจะทำให้แรงกระเทือนไปช่วยบีบหัวใจและทำให้เลือดหมุนเวียนได้ และแรงกระเทือนและแรงบีบหัวใจจากการไอนี้ จะช่วยทำให้หัวใจกลับสู่การเต้นปรกติได้ การทำแบบนี้จะช่วยให้ผู้ที่ประสพอาการหัวใจ ล้มเหลวกะทันหันพาตัวเองไปถึงโรงพยาบาลได้
กรุณาส่งต่อข้อความนี้ให้กับคนอื่นๆ ให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ เพื่อว่ามันอาจมีโอกาสได้จะช่วยชีวิตของพวกเขาไว้
หนึ่งคำถาม อาจจะมีหลายคำตอบ ดังนั้นอย่าด่วนตัดสินใจ ก่อนที่คิดหาคำตอบให้รอบด้านเสียก่อน
วันพุธที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554
ผายปอดด้วยการไอป้องกันหัวใจล้มเหลวกะทันหัน (หัวใจวาย)?
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น